วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ขั้นตอน"การพัฒนาระบบสารสนเทศ"

ั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ


-  การกำหนดและเลือกโครงการ (System Identification and Selection)


          -  การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (System Initiation and Planning)


-  การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)


-  การออกแบบระบบ (System Design)


          -  การพัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation)


-  การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance)





การพัฒนาระบบมีรูปแบบต่างๆ


1.  การพัฒนาระบบแบบน้ำตก (Waterfall Model) แต่ละขั้นตอนของการพัฒนาระบบจะเริ่มได้ก็ต่อเมื่อได้ทำขั้นตอนก่อนหน้านี้เสร็จเรียบร้อยและจะไม่ย้อนกลับไปทำขั้นตอนก่อนหน้านี้อีก


          2.  การพัฒนาระบบแบบน้ำตกที่ย้อนกลับขั้นตอนได้ (Adapted Waterfall ) เป็นรูปแบบการพัฒนาที่หากดำเนินการในขั้นตอนใดอยู่สามารถย้อนกลับไปขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดหรือ   
          เพื่อต้องการความชัดเจน


3. การพัฒนาระบบอย่างรวดเร็ว (Rapid Application Development) เป็นรูปแบบการพัฒนาที่มีการทำซ้ำบางขั้นตอนจนกว่าขั้นตอนต่างๆ ของระบบที่สร้างจะได้รับการยอมรับ


4. การพัฒนาระบบในรูปแบบขดลวด (Evolutionary Model SDLC)  เป็นการพัฒนาระบบแบบวนรอบเพื่อให้การพัฒนาระบบมีความรวดเร็วโดยการพัฒนาระบบ จะเริ่มจากแกนกลาง ในรอบแรกของการพัฒนาจะได้  ระบบรุ่น(Version) แรกออกมาและจะปรับปรุงให้ดีขึ้นในรุ่นที่สอง และดำเนินการแบบนี้ไปเรื่อยๆจนกว่าจะได้รุ่นที่สมบูรณ์
page2
วงจรการพัฒนาระบบ


Phase 1  การกำหนดและเลือกสรรโครงการ  (System Identification and Selection) ผลของการพิจารณาของคณะกรรมการอาจเป็นไปได้ดังนี้


            -  อนุมัติโครงการ


            -  ชะลอโครงการ


            -  ทบทวนโครงการ


            -  ไม่อนุมัติโครงการ





Phase 2  การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ  (System Initiation and Planning) จะเริ่มจัดทำโครงการ  โดยจัดตั้งทีมงานพร้อมทั้งกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ


-     การศึกษาความเป็นไปได้


-     การพิจารณาผลประโยชน์หรือผลตอบแทนที่จะได้รับจากโครงการ


-     การพิจารณาค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนของโครงการ


-     การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการพัฒนาระบบสารสนเทศ





Phase 3  การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ในขั้นตอนนี้จะเกี่ยวกับการเก็บข้อมูล


-     Fact-Finding Technique


-     Joint Application Design (JAD)


-     การสร้างต้นแบบ





Phase 4  การออกแบบระบบ (System Design) การออกแบบแบ่งเป็น 2 ส่วน


-     การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design)


-     การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design)





Phase 5  การดำเนินการระบบ (System Implementation) ซึ่งจะครอบคลุมกิจกรรมดังต่อไปนี้


-     จัดซื้อหรือจัดหาฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Solfware)


-     เขียนโปรแกรมโดยโปรแกรมเมอร์ (Coding)


-     ทำการทดสอบ (Testing)


-     การจัดทำเอกสารระบบ (Documentation)


-     การถ่ายโอนระบบงาน (System Conversion)


-     ฝึกอบรมผู้ใช้ระบบ (Training)



Phase 6  การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance)


            เป็นขั้นตอนการดูและระบบเพื่อให้ระบบมีประสิทธิภาพในการทำงานโดยบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีหน้าที่ในส่วนนี้


การบำรุงรักษาระบบแบ่งได้ 4 ประเภท


-     Corrective Maintenance เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดของระบบ


-     Adaptive Maintenance  เพื่อให้ระบบสามารถรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้น


-     Perfective Maintenance  เพื่อบำรุงรักษาระบบให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


-     Preventive Maintenance  เพื่อบำรุงรักษาระบบป้องกันข้อผิดพลาดที่จะเกิด
page3
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ


1)  การพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม (Traditional SDLC Methodology) เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบที่มีขั้นตอนที่แน่นอน วิธีนี้เป็นวิธีเก่าแก่ที่สุดและนิยมเรียกย่อๆ ว่า SDLC


2)  การสร้างต้นแบบ (Prototyping) เป็นการสร้างระบบต้นแบบขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้ทดลองใช้งานซึ่งนอกจากผู้ใช้จะ ได้แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศที่ต้องการแล้วยังช่วยให้มองเห็นภาพของระบบที่จะ พัฒนาได้ชัดเจนขึ้น


การพัฒนาระบบโดยใช้ตนแบบแบงออกเป็น 4 ขั้นตอน


ขั้นที่ 1 :  ระบุความต้องการเบื้องต้นของผู้ใช้


ขั้นที่ 2 :  พัฒนาต้นแบบเริ่มแรก


ขั้นที่ 3 :  นำต้นแบบมาใช้


ขั้นที่ 4 :  ปรับปรุงแก้ไขต้นแบบ


3)  การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End-user Development)


4)  การใช้บริการจากแหล่งภายนอก (Outsourcing) เนื่องจากองค์การไม่มีบุคลากรที่มีทักษะความชำนาญ การจ้างหน่วยงานหรือบริษัทภายนอกที่มีความชำนาญด้านนี้มาทำการพัฒนาระบบให้ ซึ่งการทำสัญญาจ้างให้หน่วยงานภายนอกมาทำงานเกี่ยวกับการดำเนินงานของฝ่าย คอมพิวเตอร์นี้เรียกว่า IT Outsourcing ในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า Outsourcing


5)  การใช้ซอฟแวร์สำเร็จรูปประยุกต์ (Application Software Package) เป็นทางเลือกหนึ่งในการพัฒนา เช่น ระบบงานเงินเดือน ระบบบัญชีลูกหนี้ หรือระบบควบคุมสินค้าคลคลัง หากซอฟต์แวร์สำเร็จรูปสามารถสนองต่อความต้องการระบบงานขององค์การได้ องค์การก้ไม่จำเป็นต้องพัฒนาขึ้นเอง เนื่องจากโปรแกรมสำเร็จรูปได้รับการออกแบบและผ่านการทดสอบแล้ว จึงช่วยลดค่าใช่จ่ายและเวลาในการพัฒนาระบบใหม่และยังช่วยให้การทดสอบ การติดตั้ง และการบำรุงรักษาระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น





การพัฒนาระบบแบบออบเจ็กต์ (Object-Oriented Methodology)


            ประกอบด้วยกลุ่มของวัตถุ (Class of Objects) ซึ่งทำงานร่วมกัน มีการจัดกลุ่มของข้อมูลและพฤติกรรมหรือฟังก์ชันที่กระทำกับข้อมูลนั้นเป็น กลุ่มๆ ในรูปของออบเจ็กต์ เนื่องจากออบเจ็กต์มีคุณสมบัติในการนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reusability) การพัฒนาโปรแกรมแบบออบเจ็กต์จึงใช้เวลาในการพัฒนาน้อยกว่าวิธีอื่น





การพัฒนาระบบงานประยุกต์แบบรวดเร็ว (Rapid Application Development) เป็น ขั้นตอนในการพัฒนาระบบที่ใช้ระยะเวลาในการพัฒนารวดเร็วกว่าและคุณภาพดีกว่า วิธีพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม  โดยมีการนำเครื่องมือซอฟต์แวร์มาช่วยในการพัฒนาระบบซึ่งมีขั้นตอนในการพัฒนา ระบบอยู่ 4 ขั้นตอนคือ


1)  การกำหนดความต้องการ


2)  การออกแบบโดยผู้ใช้


3)  การสร้างระบบ

4)  การเปลี่ยนระบบหรือใช้ระบบ

แหล่งที่มา https://docs.google.com/document/d/1EyuREmiNa1jdSyUyt-FURUguHd7hRknUFwn4Pbou8cA/edit


แหล่งที่มา http://chatineegm11.blogspot.com/


แหล่งที่มา http://www.youtube.com/watch?v=BIqXwBELovg

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น